Thursday, April 24, 2014

สถาปัตยกรรมข้อมูล แบบ NetBurst สร้างสรรโดย ขายอาหารเสริม

สนับสนุนโดย อาหารเสริม


NetBurst หรือที่เรียก P86 เป็นผลผลิตที่ออกมาต่อจากสถาปัตยกรรมข้อมูล แบบ P6 ใน CPU ตระกูล x86 ของอินเทล โดย CPU ตัวแรกที่ใช้สถาปัตยกรรมข้อมูลแบบ NetBurst มีชื่อว่า Willamette ซึ่งใช้ใน Pentium 4 ตัวแรก ถูกปล่อยออกมาในวันที่ 20 พฤศจิกายน 2543  ใน Pentium 4 และ Pentium D ที่สร้างต่อๆมาอีกหลายรุ่นก็จะสร้างบนพื้นฐานของ NetBurst // ขายอาหารเสริม
                ในกลางปี 2544 บริษัท อินเทลได้ปล่อย Foster ซึ่งสร้างอยู่บน พื้นฐานของ Net Burst และเป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสถาปัตยกรรมใน CPU Xeon และ Celeron ไปใช้สถาปัตยกรรมแบบใหม่นี้ || ขายอาหารเสริม
                NetBurst ถูกแทนที่ด้วยสถาปัตยกรรมแบบ Core ในเดือนกรกฎาคม ปี 2549 :: ขายอาหารเสริม


credit ขายอาหารเสริม ราคา


เทคโนโลยีที่ใช้ใน NetBurst
                NetBurst มีเทคโนโลยีสำคัญๆที่ใช้ดังนี้
1.              Front-Side Bus
                ‘Northwood’ และ ‘Willamette’ มี Front-side Bus ภายนอกที่มีความเร็ว 100 mhz และ ความกว้าง 64 bits และทำงานแบบ Quad-Pumped ซึ่งให้ความเร็วในการส่งข้อมูลหน่วยความจำสูงถึง 4.8 GB/s. ในขณะที่ ‘Presler’ มีความเร็วของ Front-side bus สูงถึง 800 Mhz และ กว้าง 64bits ทำให้สามารถรับส่งข้อมูลได้มากถึง 6.4 GB/s เมื่อใช้ร่วมกับหน่วยความจำ RAM DDR2 ที่มีความเร็ว 800 mhz
2.              Hyper Pipelined Technology
                เป็นชื่อที่เรียกการส่งข้อมูลแบบ pipeline ใน ‘Willamette’ ซึ่งมีstage มากถึง 20 stage  ซึ่งเพิ่มขึ้นมากเมื่อเทียบกับ การส่งข้อมูล pipeline 10 stage ใน Pentium III   และ ได้พัฒนาให้มีมากถึง 31 stage pipeline ใน Prescott core
3.              Rapid execution Engine
                เป็นเทคโนโลยีที่ทำให้ซีพียู Pentium 4 มีความเร็วของบัสระบบ สูงถึง 400 MHz ซึ่งจะช่วยให้ซีพียูสามารถรับส่งข้อมูลระหว่างซีพียูและอุปกรณ์อื่นๆเร็วขึ้น รวมถึงการรับส่งข้อมูลกับหน่วยความจำ Rambus ก็มีประสิทธิภาพขึ้นด้วย โดยสามารถลดความคลาดเคลื่อนในการทำ prediction ได้มากถึง 33% เมื่อเทียบกับ Pentium III
4.              Execution Trace Cache
                เป็นตัวถอดรหัสเพื่อแปลความหมายของคำสั่งที่ได้รับจากแรม พร้อมกับจัดเก็บคำสั่งที่ผ่านการถอดรหัสเรียบร้อยแล้ว เมื่อใดก็ตามที่ซีพียูมีการเรียกคำสั่งบางคำสั่งที่ อาจซ้ำกับคำสั่งที่มีอยู่ใน Trace Cache ก็จะได้ไม่ต้องเสียเวลามาถอดรหัสซ้ำอีก



รุ่นของ CPU ที่ใช้สถาปัตยกรรมแบบ Net Burst มีดังนี้

Revision
Processor Brand(s)
Pipeline stages
Willamette (180 nm)
Celeron, Pentium 4
20
Northwood (130 nm)
Celeron, Pentium 4, Pentium 4 HT
20
Gallatin (130 nm)
Pentium 4 HT Extreme Edition, Xeon
20
Prescott (90 nm)
Celeron D, Pentium 4, Pentium 4 HT, Pentium 4 Extreme Edition
31
Cedar Mill (65 nm)
Celeron D, Pentium 4
31
Smithfield (90 nm)
Pentium D
31
Presler (65 nm)
Pentium D
31

NetBurst based chips
   Celeron (NetBurst)   
  Celeron D   
  Pentium 4  
   Pentium 4 Extreme Edition   
  Pentium D   
  Pentium Extreme Edition
   Xeon, since 2001 through 2006
Revisions
อาหารเสริม
Intel CPU core roadmaps from NetBurst and P6 to Skylake
                ถึงแม้ว่าจะมีเทคโนโลยีใหม่ๆมากมาย แต่นักพัฒนาก็ประสบปัญหาคือ ไม่สามารถรักษาประสิทธิภาพการทำงานของ CPU ที่ความเร็วสัญญาณนาฬิกาสูงๆได้ ปัญหาเรื่องความร้อนของ CPU และ ความต้องการทรัพยากรอย่างมากในการทำงาน กลายเป็นปัญหาใหญ่ใน CPU Prescott ทำให้ Intel ไม่สามารถสร้าง CPU ที่มี ความเร็วสัญญาณนาฬิกาเกิน 3.8 GHz ได้
                Intel ได้สร้างหน่วยประมวลผลแบบ 2 core ที่สร้างบนพื้นฐานของ NetBurst เช่นกัน และมีโค้ดเนมว่า Smithfield ซึ่งประกอบด้วย core แบบ Prescott 2 ตัว บน Single Die และ พัฒนาเป็น Presler ซึ่งประกอบด้วย 2 Cedar mills cores บน Die ที่แยกกัน